วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 9

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 9  สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 9 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

เพลงผลไม้

คำประสม






เรียนครั้งที่ 8

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 2  สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 8 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

สัปดาห์สอบ

เรียนครั้งที่ 7

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 7  กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 26 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

เนื้อเพลง: ชีวิตเป็นของเรา
ศิลปิน: Bodyslam
อัลบั้ม: Believe
คนเราจะมีพรุ่งนี้ได้อีกกี่วัน เวลามีเหลือกันเท่าไหร่
คนเราจะมีลมหายใจอีกกี่ครั้ง ใครจะรู้
คนเรายังมีสมองที่แตกต่างกัน ยังมีความฝันได้มากมาย
คนเราจะมีชีวิตเริ่มใหม่ได้ใช้ คงน่าเสียดาย
ต้องขออภัยจริงๆ ที่ฉันไม่ได้ไปด้วย
กับเส้นทางของใคร ที่เขาคิดว่าดี
วันนี้ไม่ได้เดินตาม แต่ฉันก็เต็มที่
กับเส้นทางของฉัน วันนี้
ชีวิตจะเป็นแบบไหน คงต้องเลือกเอา
ก็ตัวของเราก็ใจของใครของมัน
ชีวิตที่เป็นแบบนี้ คงไม่ว่ากัน
ก็ชีวิตมันเป็นของเรา
คนเราจะมีพรุ่งนี้ได้อีกกี่วัน เวลามีเหลือกันเท่าไหร่
คนเราจะมีลมหายใจอีกกี่ครั้ง ยังไม่รู้เลย
ให้คิดที่ทำตามใคร ก็รู้ว่าคงดีแน่
แต่เกิดมาทั้งที ต้องทำที่ใจอยาก
ชีวิตที่เป็นตัวเอง ก็รู้ว่ามันแย่
แต่มันต้องขอลองสักครั้ง
ชีวิตจะเป็นแบบไหน คงต้องเลือกเอา
ก็ตัวของเราก็ใจของใครของมัน
ชีวิตที่เป็นแบบนี้ คงไม่ว่ากัน
ก็ชีวิตมันเป็นของเรา
ชีวิตจะเป็นแบบไหน คงต้องเลือกเอา
ก็ตัวของเราก็ใจของใครของมัน
ชีวิตที่เป็นแบบนี้ คงไม่ว่ากัน
ก็ชีวิตมันเป็นของเรา
มันต้องเลือกเอา ก็ตัวของเราก็ใจของใครของมัน
ชีวิตที่เป็นแบบนี้ คงไม่ว่ากัน
กับชีวิตที่ยังมี ชีวิตที่อยากเป็น ชีวิตมันเป็นของเรา

1 วิเคราะห์เนื้อหา
-                   เกี่ยวชีวิตประจำวัน


วัตถุประสงค์
-                   สร้างกำลังใจแก่ผู้เรียนไม่ท้อหรือหมดหวังกับสิ่งที่กำลังจะทำ
-                   เพื่อให้ผ่อนคลาย
-                   เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน

ฟังแล้วรู้สึก
         ฟังแล้วรุ้สึกมีกำลังใจ มีความมั่นคง
-                


เรียนครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 6  กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 19 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

เพลงกล่อมเด็ก


เรียนครั้งที่ 5


วิชา การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วันศุกร์ ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

การจัดประสบการณ์ทางภาษา

ทักษะการใช้ภาษา


1 บอกสิ่งของที่รักและเหตุผล

เป็นการให้เหตุผลเเบบอุปนัยเนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ ดังนั้นการหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง ข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างซึ่งได้แก่ จำนวนข้อมูล และ ข้อมูล

2 การโฆษณาสินค้า

     การโฆษณา มีความจำเป็นต้องใช้ภาษาที่ดึงดูดความสนใจของคนอ่านคนฟัง นักโฆษณาจึงมักคิดค้นถ้อยคำ สำนวนภาษาแปลก ๆ ใหม่ ๆ นำมาโฆษณาอยู่เสมอ เพื่อเรียกร้องความสนใจจากคนซื้อ ในขณะเดียวกันการโฆษณาต้องใช้ภาษาที่ง่าย ๆ กะทัดรัด ได้ใจความชัดเจนดี น่าสนใจ ให้ทันเหตุการณ์ รวดเร็ว มีเสียงสัมผัสคล้องจอง จดจำได้ง่ายด้วย จึงมีถ้อยคำเกิดใหม่ ๆ อยู่เสมอ 
1. เรียกร้องความสนใจคือเลือกใช้ภาษาที่ง่าย สุภาพ กระตุ้นความรู้สึกของลูกค้า
2. ให้ความกระจ่างแก่ลูกค้าเป็นการใช้ภาษาที่ง่ายชัดเจนในการกล่าวถึงคุณภาพของสินค้าหรือบริการ
3. ให้ความมั่นใจ เป็นการอ้างอิงข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจ
4. ยั่วยุให้เกิดการตัดสินใจ เป็นการใช้ถ้อยคำให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการโดยเร็วที่สุด

3การประชาสัมพันธ์  หมายถึง  การสื่อสารความคิดเห็นข่าวสารข้อเท็จจริงต่างๆไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงานองค์การสถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้องเพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชนรวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน  องค์การ  สถาบันด้วย ทำให้ประชาชนเกิดความนิยมเลื่อมใสศรัทธาต่อหน่วยงานตลอดจนค้นหาและกำจัดแหล่งเข้าใจผิดช่วยลบล้างปัญหาเพื่อสร้างความสำเร็จในการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น



4 การเล่าข่าว 


1. การใช้ภาษาพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์  

    1.1 การใช้คำตัดสั้นหรือกร่อนคำ  ด้วยข้อจำกัดในเรื่องพื้นที่  คือความกว้างยาวของคอลัมน์ข่าว  ทำให้การใช้คำพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ต้องตัดให้สั้นหรือย่นย่อลงเพื่อกระชับคำให้พิมพ์ลงในเนื้อที่ที่จำกัดได้ เช่น หนุน ใช้แทน  สนับสนุน ยัน ใช้แทน ยืนยัน มะกัน ใช้แทน สหรัฐอเมริกา  เป็นต้น
     
     1.2 การละประธานของประโยค  การพาดหัวข่าวนิยมเขียนประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคำกริยา  เพื่อบอกผู้อ่านว่าเกิดอะไรขึ้น  ละประธานของประโยคในฐานะที่เข้าใจได้ โดยเฉพาะเมื่อความสำคัญของเรื่องที่เป็นข่าวไม่ได้อยู่ที่ประธานของประโยค  เพื่อให้ผู้อ่านอ่านรายละเอียด
ในความนำหรือเนื้อเรื่องของข่าวต่อไป
    

5 การเล่าจากภาพ